วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563

แบบทดสอบเรื่องโปรตีน

แบบทดสอบ

แบบทดสอบเรื่องคาร์โบไฮเดรต

แบบทดสอบ

แบบทดสอบเรื่องลิพิด

แบบทดสอบ

แบบทดสอบเรื่องอาหาร

แบบทดสอบ

แบบทดสอบเรื่องสารประกอบไอออนิก

แบบทดสอบ

แบบทดสอบเรื่องพันธะเคมี

แบบทดสอบ

แบบทดสอบเรื่องอะตอมและธาตุ

แบบทดสอบ

กัมมันตรังภาพรังสี

กัมมันตภาพรังสี หมายถึงรังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีปลดปล่อยออกมา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียร์  กัมมันตภาพรังสี  มี 3  ชนิด

บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร

ผลิตภัณฑ์อาหารใดๆ จะประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับของตลาดนั้น จำต้องมีการควบคุมคุณภาพตั้งแต่วัตถุดิบ ขั้นตอนระหว่างการแปรรูปและการบรรจุ เพื่อให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตและจัดส่งแต่ละครั้งมีคุณภาพอย่างคงที่ ถ้าสามารถควบคุมคุณภาพอาหารได้อย่างแน่นอนและสม่ำเสมอแล้ว โอกาสที่บรรจุภัณฑ์จะช่วยส่งเสริมทางด้านการตลาดจะประสิทธิผลสูงซึ่งจะเป็นไปตามสัจธรรมที่ว่าบรรจุภัณฑ์ไม่สามารถเพิ่มคุณภาพของสินค้าแต่สามารถเพิ่มคุณค่าของสินค้าได้

วิตามินและเกลือแร่

วิตามินและเกลือแร่ถือเป็นสารที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ต่อสุขภาพของมนุษย์  หากปราศจากวิตามินและเกลือแร่ร่างกายไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ และอาจจะป่วยเป็นโรคหลายชนิด อันเกี่ยวเนื่องจากการขาดวิตามินและเกลือแร่ 

โปรตีน

‘โปรตีน’ (Protein) ถือเป็นสารอาหารหลักของร่างกาย เหมือนกับคาร์โบไฮเดรตและไขมัน โดยพบในส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ว่าจะเป็นในกล้ามเนื้อ เม็ดเลือด กระดูก ผิวหนัง และเส้นผม นอกจากจะให้พลังงานกับร่างกายแล้ว โปรตีนยังทำหน้าที่สำคัญอีกหลายประการ เช่น เสริมสร้างความเจริญเติบโต ซ่อมแซมเซลล์ที่ถูกทำลาย ช่วยในการแข็งตัวของเลือด สร้างกล้ามเนื้อ เอนไซม์ และฮอร์โมน กระตุ้นการหลั่งของโกรทฮอร์โมน (growth hormone) เพิ่มประสิทธิภาพของภูมิต้านทานโรค รักษาความสมดุลของภาวะกรดและด่าง และยังมีการนำโปรตีนมาใช้ในเรื่องของการลดน้ำหนักอีกด้วย ซึ่งคนเรานั้นต้องการใช้โปรตีนในการเสริมสร้างและพัฒนาร่างกายให้แข็งแรงในทุกช่วงวัย..เริ่มนับตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึงวัยสูงอายุเลยทีเดียวซึ่ง

คาร์โบไฮเดรต

สารอาหารกลุ่มนี้พบในอาหารทั่วๆ ไปหลายชนิด ซึ่งให้พลังงานแก่ร่างกาย

ไขมันและน้ำมัน

ไขมันและน้ำมันเป็นเอสเทอร์ชนิดหนึ่งซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติ จัดว่าเป็นสารอินทรีย์ประเภทเดียวกับไข (Wax) รวมเรียกว่า ไลปิด (Lipid)ไลปิด เป็นเอสเทอร์ที่โมเลกุลมีขนาดใหญ่ไม่มีขั้วจึงไม่ละลายน้ำ แต่ละลายได้ในตัวทำละลายไม่มีขั้ว คือตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น คลอโรฟอร์ม อีเทอร์ โพรพาโนน เบนซีน เป็นต้น

สารละลาย

การละลาย (Dissolve) คือ การที่สารชนิดหนึ่ง (ตัวถูกละลาย) แตกตัวออกเป็นอนุภาคเล็ก ๆ และแทรกตัวในสารอีกชนิดหนึ่ง (ตัวทำละลาย) โดยทั่วไปเราพิจารณาว่า

- สารที่มีปริมาณมากกว่าเป็น ตัวทำละลาย (Solvent)

- สารที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็น ตัวถูกละลาย (Solute)

- สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายเรียกว่า aqueous solution (aq) 

อ่านเพิ่มเติม

พันธะเคมี

พันธะเคมี (Chemical Bonding) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเป็นการดึงดูดเข้าหากัน เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล จนเกิดเป็นสสารหรือสารประกอบที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากขึ้นในธรรมชาติ อ่านเพิ่มเติม

โมเลกุลของน้ำ

น้ำเป็นสารที่มีสมบัติทางกายภาพแตกต่างจากสารอื่น อ่านเพิ่มเติม

ธาตุ

ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว อ่านเพิ่มเติม

มลพิษทางอากาศ

 มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)

จจุบันเราต้องเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมมากมาย ซึ่งนับวันปัญหาดังกล่าวจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ปัญหาเรื่องมลพิษทางอากาศก็เป็นปัญหาใหญ่ปัญหาหนึ่งที่พวกเราทุกคนควรจะตระหนักถึงและหาแนวทางในการแก้ไขอย่างจริงจัง

ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม

มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) หมายถึง ภาวะของอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่มากพอ และเป็นระยะเวลานานพอที่จะทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ อนามัยของมนุษย์ สัตว์ พืช และวัสดุต่างๆ สารดังกล่าวอาจเป็น


อ่านเพิ่มเติม

การใช้ประโยชน์จากอากาศ

 ประโยชน์ของบรรยากาศมีอะไรบ้าง

ประโยชน์ของบรรยากาศ
1. มีก๊าชออกซิเจน (oxygen) ช่วยในการหายใจ
2. ช่วยลดความเข้มของแสงอุลตราไวโอเลต
3. ช่วยให้สภาพอากาศเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ ถ้าโลกไม่มีบรรยากาศ กลางวัน จะร้อนจัด กลางคืนจะหนาวจัด คล้ายดวงจันทร์
4. ทำให้เกิด เมฆ หมอก ลม ฝน หิมะ ลูกเห็บ น้ำค้าง
5. ช่วยลดอันตรายจากอุกกาบาต (meteorite) เมื่อเห็นอุกกาบาตผ่านเข้าชัน อากาศโลกจะ
ลุกไหม้เป็นดาวตก หรือผีพุ่งไต้ และลดขนาดลงจนเป็นผง



องค์ประกอบในอากาศ

 

องค์ประกอบของอากาศ

อ่านเพิ่มเติม

อากาศจัดเป็นของผสม โดยประกอบด้วยก๊าซต่างๆ เช่น ไอน้ำ, เขม่า, ควันไฟ, และอนุภาคต่างๆ ปะปนกันอยู่ สำหรับอากาศที่ไม่มีไอน้ำอยู่เลย เรียกว่า อากาศแห้ง ส่วนอากาศที่มีไอน้ำเป็นส่วนผสมอยู่ด้วยเรียกว่า อากาศชื้น

ส่วนผสมของอากาศในที่ต่างๆ จะแตกต่างกันไปตามสถานที่และเวลา อีกทั้งส่วนประกอบของอากาศในดินไม่มีสัดส่วนที่คงที่เหมือนของบรรยากาศ เพราะในดินจะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ผันแปรตลอดเวลาตามกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในดิน เช่น การสลายตัวของสารอินทรีย์โดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ที่อยู่ในดิน ด้วยเหตุนี้ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นในดินจึงไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม, อุณหภูมิและความชื้นของดิน โดยดินที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงจะช่วยให้กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆ ในดินมีอัตราสูงขึ้นทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถูกปล่อยออกมามากขึ้นด้วย


แบบจำลองอะตอม

 แบบจำลองอะตอม

” มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง

เมื่อมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ เกิดขึ้น นักวิทยาศาสตร์จะนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาต่อยอดจากความรู้เดิมจึงทำให้แบบจำลองอะตอมมีการเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องยิ่งขึ้น

การจัดเรียงอิเล็กตรอน

 หลักในการจัดเรียงอิเล็กตรอน

   1. จำนวน eที่มีได้มากสุดในแต่ละระดับพลังงาน 2n2




 n = 1  สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้   2(1)2 = 2 

  

           n = 2  สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้   2(2)2 = 8 

  

           n = 3  สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้   2(3)= 18

    

           n = 4  สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้   2(4)2 = 32

    

           n = 5 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้    2(5)= 50



       2. จำนวน eชั้นนอกสุด (เวเลนซ์อิเล็กตรอน) ห้ามเกิน 8


ตารางแสดงระดับพลังงานและจำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้เต็มที่ในแต่ละระดับพลังงา

แบบทดสอบเรื่องโปรตีน

แบบทดสอบ